Skip to main content

ไฟฟ้าหัวใจ

👉🏿​ Heart​ Arrhythmia or irregular heartbeat 
   คือความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับสัญญาณ​ไฟฟ้า​หรือการส่งผ่านสัญญาณ​ไฟฟ้าทำให้คลื่นไฟฟ้า​มีความผิดปกติในจังหวะ(rhythm)​ หรือ​อัตรา​(rate)​ หรือ​รูปร่าง(shape). 
   ปกติ​ Atrioventricular (AV) node นำไฟฟาจากหัวใจห้องบน (atrium) ไปหัวใจห้องล่าง (ventricle) โดยผ่านทาง His-Purkinje system ซึ่งประกอบด้วย His bundle ที่แยกออกเป็น right bundle branch และ left bundle branch ซึ่ง​แยกออกเป็น 2 แขนง ย่อย คือ left anterior และ left posterior fascicle. 
● Characteristics : -
1. Bradycardia : heart rate of under 60 beats per minute.
2. Tachycardia​ ​: heart rate of Over 100 beats per minute.
3. Flutter : very rapid but regular contractions
4. Fibrillation : disorganized contractile​ activity
ภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติแบ่งตามจุดกำเนิดในหัวใจได้ 2 ชนิด คือ supraventricular tachycardia (SVT) เกิดในหัวใจห้องบนและ ventricular tachycardia (VT) เกิดในหัวใจห้องล่าง
Type - :
A. Extra beats
B. Supraventricular tachycardia
C. Ventricular arrhythmias
D. Heart  block
A. ● Extra bearts ● 
1.Premature atrial ccontractions: (PACs)
   ภาวะที่หัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะแบบเกิดเร็วกว่าปกติเป็น​พักๆ​ โดยที่ไฟฟ้าถูกปล่อยออกจากหัวใจห้องบน
     PACs can trigger a more serious arrhythmia such as atrial flutter or atrial fibrillationpremature ventricular contractions.
2.​premature ventricular contraction : (pvc)​
  ปกติหัวใจห้องล่างซ้ายจะบีบตัวเอาเลือดออกจากหัวใจไปเลี้ยงร่ายกาย แต่ในคนที่มีภาวะนี้ หัวใจห้องอื่นจะมาช่วยบีบตัวด้วย ทำให้หัวใจมีอาการสั่นพลิ้ว และเต้นไม่เป็นจังหวะในบางขณะ
 3. Tachy-Brady Arrhythmia  หรือ​ Sinus node dysfunction  มีหลายแบบ​ :
Sinus bradycardia : มี p ตามด้วย qrs แต่ rate ช้า
Sinus arrest : มี p ตามด้วย qrs อยู่ดีก็หายไปทั้ง p และ qrs
Sinoatrial exit block : pp interval สั้นลงๆ จนหายไป sinus pauses
Brady-tachycardia syndrome : p wave เต้นช้าเร็วสลับกัน ทำให้ qrs ไม่สม่ำเสมอ หรือหายไป
OPD : Holter monitoring
IPD: telemetry monitoring
การรักษาด้วยการใส่ pace maker
ถามว่า
1.ทำแล้วชีวิตยืนยาวขึ้นหรือไม่
2.ทำแล้วคุณภาพชีวิตดีขึ้นหรือไม่
สำหรับโรค SSS
ไม่มีหลักฐานว่าใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแล้วจะทำให้ชีวิตยืนยาวขึ้น คือ ไม่ได้ลดอัตราการเสียชีวิต
แต่ช่วยลดอาการผิดปกติ ทำให้คุณภาพชัวิตดีขึ้นในกรณีที่มีอาการมาก เช่น วูบเป็นลมหมดสติ เป็นต้น
คนเป็นโรค sick sinus syndrome อาจลงเอยด้วยภาวะแทรกซ้อน ได้ดังนี้:
 เจ็บหน้าอก (angina)
 สมรรถภาพการออกกำลังกายลดลง
 หกล้มได้บ่อยจากอาการวิงเวียน
 หัวใจล้มเหลว
  เป็นความผิดปกติของ​ประจุไฟฟ้าจาก SA node (pacemakers)  ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดเต้นเร็วและเต้นช้า สลับกันไปเรียกว่า​ : Sick sinus syndrome(SSS), จากรูป​ 128 ครั้งต่อนาที, และ​ 46​ ครั้งต่อนาที.
สาเหตุ​ :  คาดว่าเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจที่เกิดความเสียหายเป็นสาเหตุที่ส่งผลให้​ pacemakers ทำงานผิดปกติ
อาการ​ :  หายใจถี่, เจ็บหน้าอก, อ่อนเพลีย, เวียนศีรษะ, ใจสั่น
      ===== ===== ===== ===== =====
B. Supraventricular tachycardia 
​ ● (SVT)​ is an abnormally fast heart rhythm arising from improper electrical activity in the upper part of the heart.
แยกย่อยเป็น​ 4  ประเภท
1. Multifocal​ Atrial tachycardia 
2. Atrial Flutter
3. Atrial Fibrillation​s
4. Paroxysmal supraventricular​ tachycardia (psvt)​
5. Pre-excitation syndrome
Symptoms : 
Palpitations(ใจสั่น) , feeling faint(เป็นลม) , sweating(เหงื่อ​ออก)​, shortness of breath(หายใจถี่)​, chest pain(เจ็บ​หน้าอก)​.
1. Multifocal​ Atrial Tachecardia​
     the heart's electrical impulse  จากภายนอก​  SA node
     comes from an ectopic pacemaker in the upper
     chambers (atria) of the heart (the normal origin
     of the heart's electrical activity)
ปัจจัย​ : Rate over​ 100 beat per minute , The P-waves ชัดเจนแต่มีรูปร่าง​ต่าง​กัน​ 3 ตัว, ​ and P–R intervals  called wandering atrial pacemaker (WAP).
สาเหตุ​ : older people and is associated with exacerbations of chronic obstructive pulmonary disease (COPD)  
2. Atrial Flutter : is caused by a re-entrant rhythm. This usually occurs along the Cavo-tricuspid isthmus of the right atrium though atrial flutter can originate from the left atrium as well .     
Atrial flutter with varying A-V conduction (5:1 and 4:1)
  จะเห็น​ P-wave จะมีลักษณะ​เป็นฟันเลื่อยเห็น​ชัดใน​ lead II, V1 ตามมาด้วย​ QRS, Rate ประมาณ​ 187 bpm  
3. Atrial Fibrillation​s :  
    The normal electrical conduction system of the heart allows the impulse that is generated by the sinoatrial node (SA node) of the heart to be propagated to and stimulatethe myocardium 
When the myocardium is stimulated, it contracts. is caused by Stroke,Myocardial infarction, Heart failure, Systemic embolism, Venous thromboembolic disease, Dementia. 
ผลกระทบที่สำคัญ​ของ AF คือการเกิดเลือดแข็งตัว​ในหัวใจห้อง​บน​ซ้าย​ ซึ่งมีโอกาสหลุดเข้าไปใน กระแสโลหิตทำให้เกิดอัมภาต หรืออัมพฤกษได้

     เป็น​ wave ที่ไม่สม่ำเสมอ​ ไม่มี​ wave P  ตามด้วย​ QRS​ ที่ไม่สม่ำเสมอ  Atrial fibrillation (AF)  เกิดจากการมี ectopic foci หลาย  ตำแหน่งบริเวณ atrium ทำให้ atrium depolarization ไม่พร้อมเพียงกัน จึงไม่  เห็น P wave มี baseline ขยักขยัก  (f wave) มีอัตราการเต้นของ ventricle ไม่สมำเสมอเนื่องจากมีกระแสประสาท  จาก ectopic foci เพียงบางครั้งที่ส่งไป ที่ ventricle ไม่แน่นอน
4. Paroxysmal supraventricular tachycardia (psvt)
Paroxysml หมายถึงการรบกวนจังหวะการเต้นหัวใจแบบชั่วคราวกะทันหัน.
​ภาวะ PSVT เกิดจากการลัดวงจรของระบบไฟฟ้าของหัวใจ จนทำให้สัญญาณไฟฟ้าหมุนไปรอบ ๆ เป็นวงกลม และบังคับให้หัวใจเต้นทุกครั้งที่สัญญาณวนครบรอบ
   The cause is not known. shows narrow QRS complexes and a fast heart  rhythm typically between 150 and 240 beats per minute. 
สาเหตุเกิดจากแบบ​ :
AV nodal re-entrant tachycardia (AVNRT)  56%. 
AV reciprocating tachycardia (AVRT) 27%. 
Paroxysmal atrial tachycardia 17%. 
   (Lead II electrocardiogram strip showing 
    PSVT with a heart rate of about 180.) 
4.1. AV nodal re-entrant tachycardia (Avnrt)​
   ไฟฟ้าถูกปล่อยออกมาจากจุดเหนือ​ bundle​ of His
  จังหวะ​การเต้น​สม่ำเสมอ​ QRS​ complex  ปกติ​ ​P​ ​wave  ซ้อน​อยู่​ใน​ QRS​ complex  จึงไม่เห็น​ P​ wave
Antegrade ผ่าน​ slow pathway  แล้ว​ reenter กลับผ่าน​ fast pathway ทำให้เห็น​ P​ wave  หรือ​ R-P  สั้นกว่า​ P-R
4.2​ AV reciprocating tachycardia (AVRT)​
เป็นการวนของคลื่นกระแสไฟฟ้าจาก​ av​node สู่​ ventricular แล้ววนเข้า​ bypass track(accessories pathway) มี​ p wave ตามหลัง​ QRS​ complex (rp สั้น, pr ยาว) 
5. Pre-excitation syndrome
    is a heart condition in which part of the cardiac ventricles are activated too early. BPT  สามารถนำไฟฟ้าจาก​ a node สู่​ Ventricle ได้เรียก​  anterograde conduction 

    the normal electrical depolarization wave is delayed at the atrioventricular node to allow the atria to contract before the ventricles. ที่​ AV node เกิดทางเดินไฟฟ้า(path way) นอกเหนือจากทางเดินปกติ​normal atrioventricular/bundle of His system, and the ventricles are depolarized (excited) before (pre-) normal conduction system.
5.1 Wolff-Parkinson-White​ syndrome
การเต้นผิดจังหวะ​ที่พบได้บ่อยใน​ WPWS  ก็คือ​ AVRT​ เกิดจาก an abnormal pathway between the atrial and the ventricles คลื่นไฟฟ้าหัวใจ​จะส่งกระแสไฟฟ้าไปตามเส้นวงจรต่างๆ จาก​ AV​ node จนถึง
his-purkinje​ ​system (AVN-HPS)​ แต่เกิดความผิดปกติในเส้นวงจรทำให้สัญญาณไฟฟ้าของหัวใจเกิดลัดวงจรระหว่าง​ ​atrial กับ​ ventricular เรียก​ bypass tract 
(BPT) depolarization Ventricular​ วิ่งเร็วกว่าปกติ​ทำให้​เกิด​ short PR interval น้อยกว่า​ 120 ms และมักจะมี​ QRS​ complex มากกว่า​ 110​ ms (ST segment and
T wave, which represent repolarization, will often be directed opposite the QRS complex.) 


การนำไฟฟ้าผ่าน​ ventricular myocardium​ ​ได้ช้าจึงพบความชันของ​ initial R​ or wave S น้อยกว่า​ ​depolarization​ ผ่านทาง​ (AVN-HPS) จึงทำให้เกิด​ delta wave และถูกกลบไปจนทำให้เกิดอาการหัวใจเต้นเร็วมากผิดปกติ หรือภาวะ WPW นั่นเอง
(WPW​ pattern + Tachyarrhythmia) คือ ​Tachycardia​ ​มี ECG​ (short PR + delta wave)
C. Ventricular arrhythmias 
Cause : Ventricular tachycardia can occur due to coronary heart diseaseaorticstenosis
cardiomyopathyelectrolyte problems
(e.g., low blood levels of magnesium or potassium), inherited channelopathies 
(e.g., long-QT syndrome), catecholaminergic polymorphic ventricular tachycardiaarrhythmogenic right ventricular dysplasia, or a heart attack
1. Ventricular tachycardia.
    is a type of regular, fast heart rate that arises from improper electrical activity in the ventricles of the heart. the re-entry electrical circuit in ventricles
ไม่เห็น​ P​-wave, เห็นแต่​ QRS complex กว้างกว่าปกติ.​ Ventricle​ rate  150-240  bpm
2. Ventricular flutter.
  It has been considered as a possible transition stage between ventricular tachycardia and fibrillation
ไม่เห็น​ wave P, เห็นแต่​ QRS​ complex กว้างกว่าปกติคล้ายฟันเลื่อย​ ​rate over 250-350 beats/min. 
3. Ventricular fibrillation.
 is when the heart quivers instead of pumping due to disorganized electrical activity in the ventricles.Ventricular fibrillation results in cardiac arrest with loss of consciousness and no pulse.This is followed by death in the absence of treatment
ไม่เห็น​ wave P, QRS​ complex ไม่สม่ำเสมอดูหยาบ
4. Asystole is the absence of ventricular contractions in the context of a lethal heart arrhythmia (ตาย)​
หัวใจหยุดทำงาน, wave  จะเป็นเส้นตรง
● Heart​ block ● 
  1. AV​ block : impulse จากSA node มา AV node ช้าลง หรือ หยุดเลย.
 ความผิด​ปกติของการนำไฟฟ้าหัวใจ​จากห้องบนสู่ห้องล่าง (AV block) เป็นภาวะที่เกิดการขัดขวางของกระแสไฟฟ้าให้ช้าลง หรือทำให้กระแสไฟฟาไม่สามารถผ่านไปกระตุ้นส่วนของหัวใจห้องล่างต่อไปได้  AV block อาจเป็น  
first degree : กระแสไฟฟ้า สามารถผ่านจากหัวใจห้องบนไปกระตุ้นหัวใจห้องล่างได้ทุกครั้งแต่ใช้เวลานานขึ้น
second degree : กระแสไฟฟ้าผ่านจากหัวใจห้องบนไปกระตุ้นหัวใจห้องล่างได้เป็นบางครั้ง
third degree : กระแสไฟฟ้าไม่สามารถผ่านจากหัวใจห้องบนไปกระตุ้นหัวใจห้องล่างได้เลย) 
1.1 First-degree atrioventricular block
จังหวะสม่ำเสมอ, wave รูปร่างปกติ, QRS ปกติ <3ช่องเล็ก, rate QRS =P wave
PR​ interval มากกว่า​ 200​ ms.
1.2. Second -degree atrioventricular block
QRS complex หายเป็นช่วงๆ
2.1 Mobitz typeI : PR interval ยาวขึ้นเรื่อยจน block แล้ว QRS หายไป
2.2 Mobitz typeII : PR interval คงที่ แต่ QRS หายไปเป็นช่วงทั้งสอง type มี Atrial rhythm สม่ำเสมอ ventricular rhythm ไม่สม่ำเสมอ QRS ลักษณะปกติ
1.3.Third-degree atrioventricular block.
     SA node in the atrium of the heart can not propagate to the ventricles.
 
3rd degree AV block : P และ QRS ต่างคนต่างเต้น ไม่สัมพันธ์กัน, ดูระยะห่าง P หน้า QRS จะไม่เท่ากัน
2. Bundle branch block
คือ มีการปิดกั่นในส่วน Bunble Branch​ Heart electrical conduction system SA node à AV nodeà Bundle of His แล้วแยกไป Left และ Right Bundle Branch, Bundle branch เป็นส่วนที่แยกไป ventricle
การอ่านก็ต้องดูที่ QRS complex
Bundle branch block ดู V1 กับ V6​ หากมีการ block Lt. หรือ Rt. ทำให้ ventricle ด้านใดด้านหนึ่งเต้นช้ากว่า QRS จึงกว้างขึ้นหรือเพราะ LT กับ RT ventricle บีบตัวไม่พร้อมกัน
1.QRS > 3 ช่องเล็ก
2.หูกระต่ายอยู่ V ทางไหน block ทางนั้นเช่น อยู่ที่ v1/v2/v3 เป็น Rt.BBB อยู่ทาง V4/V5/V6 เป็น Lt.BBB
3.Rt BBB: Rใหญ่(V1) Sลึก(V6) (หัวตั้งหมดv1-v6)

V1 : Terminal R wave in V1 คือ มี R wave เป็นตัวปิดท้าย ทำให้ QRS ดูเป็น 2 ขยัก rSR’ ดูคล้ายหูกระต่าย
หรือ เป็น R,rR’,rSR’,qR ซึ่งปกติ QRS ปิดท้ายด้วย S wave
4.Lt BBB: S ลึก(V1) Rใหญ่(V6) (หัวลงก่อนตั้งทีหลัง)
=====00000=====00000=====00000=====
การักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
1. ใช้ยาควบคุมการเต้นของหัวใจ ส่วนใหญ่จะช่วยลดความถี่และความรุนแรงได้ แต่รักษาได้ ไม่หายขาด
2. ฝังเครื่องกระตุ้นหัวใจ (Pacemaker) ฝังไว้ใต้ผิวหนัง บริเวณใต้กระดูกไหปลาร้า มีสายนำไฟฟ้าไปที่หัวใจ เพื่อควบคุมและกระตุ้นให้หัวใจเต้นตามอัตราที่กำหนด ใช้สำหรับผู้ป่วยที่มีหัวใจเต้นช้าเกินไป
3. Implantable Cardioverter Defibrillator: ICD เป็นอุปกรณ์ช่วยเหลือที่ถูกผ่าตัดฝังใต้ผิวหนัง ส่วนใหญ่บริเวณหน้าอกด้านซ้ายใต้กระดูกไหปลาร้าเป็นการฝังเครื่องมือคล้ายเครื่องกระตุ้นหัวใจ เมื่อหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ เครื่องจะทำหน้าที่กระตุกโดยอัตโนมัติ ช่วยทำให้หัวใจกลับมาเต้นปกติ
4. Subcutaneous ICD เป็นอุปกรณ์ซึ่งตัวเครื่องจะถูกฝังอยู่ใต้ผิวหนังบริเวณใต้รักแร้ โดยขั้วไฟฟ้าที่ต่อจากเครื่องจะถูกแนบไปตามกระดูกหน้าอกจะถูกใช้เพียงในสถานพยาบาลบางแห่งและในผู้ป่วยบางรายที่มีความผิดปกติของเส้นเลือดหัวใจ ทำให้ไม่สามารถต่อสายเครื่องกระตุ้นหัวใจเข้ากับเส้นเลือดที่เข้าสู่หัวใจได้
5. ฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้า ใช้ไฟฟ้ากระตุกเพื่อปรับการเต้นของหัวใจ (Cardioversion) จะใช้กรณีที่ตรวจพบว่าหัวใจเต้นเร็วเกินไป โดยมีแผ่นแปะที่หน้าอกของผู้ป่วย แล้วใช้กระแสไฟฟ้าจากเครื่องส่งภายนอกเป็นตัวกระตุ้น
6. จี้ด้วยคลื่นวิทยุ (Radiofrequency Catheter Ablation) วิธีนี้เป็นการรักษาแนวใหม่ ซึ่งสามารถใช้รักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้เกือบทุกชนิด เป็นการรักษาที่ต้นเหตุและช่วยให้ไม่ต้องกินยาตลอดชีวิต ในอดีตจะใช้วิธีการนี้ เมื่อคนไข้กินยาแล้วไม่ได้ผล หรือ เกิดผลข้างเคียงจากยามาก ปัจจุบันวิธีการนี้เป็นที่นิยมมากขึ้น เนื่องจากผลจากการรักษาค่อนข้างดี ภาวะแทรกซ้อนน้อย แต่ยังมีข้อจำกัดคือ เป็นการรักษาคลายกับการผ่าตัดเล็ก จึงจำเป็นต้องนอนโรงพยาบาล 1-2 วัน ค่าใช้จ่ายยังค่อนข้างสูง และต้องทำ โดยแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง รวมถึงมีเครื่องมือ และเทคโนโลยีที่พร้อม
==================
There are three basic types of permanent pacemakers, classified according to the number of chambers involved and their basic operating mechanism:

Single-chamber pacemaker. In this type, only one pacing lead is placed into a chamber of the heart, either the atrium or the ventricle.
Dual-chamber pacemaker. Here, wires are placed in two chambers of the heart. One lead paces the atrium and one paces the ventricle. This type more closely resembles the natural pacing of the heart by assisting the heart in coordinating the function between the atria and ventricles.
Biventricular pacemaker. This pacemaker has three wires placed in three chambers of the heart. One in the atrium and two in either ventricle. It is more complicated to implant.
👉🏿 Cardiac resynchronous therapy (CRT) pacemaker หรือ biventricular pacing (Bi-V Pacing) ใช้ในการรักษาในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว โดยเฉพาะที่ความผิดปกติการนำสัญญาณไฟฟ้าภายในหัวใจ ชนิด left bundle branch block ทำให้การนำกระแสไฟฟ้าในหัวใจห้องล่างไม่พร้อมเพรียงกัน (dyssunchrony) ส่งผลให้ กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวไม่พร้อมเพรียงกัน ( asynchronus contraction) โดยเครื่อง CRT จะทำการกระตุ้นหัวใจทำให้หัวใจ ห้องล่างทั้งสองห้องกลับมาทำงานประสานกันอย่างพร้อมเพรียง (resynchronized ventricles) โดย CRT จะมีสายสื่อ (lead) เพิ่มพิเศษอีกหนึ่งสายเพื่อกระตุ้น left ventricle (LV) ด้วย ซึ่งส่วนใหญ่สามารถใส่ผ่านเส้นเลือดดำเหมือนใส่lead ปกติ โดย LV lead นี้จะถูกใส่ผ่านเข้าไปใน coronary sinus เพื่อให้สามารถกระตุ้น lateral wall ของ LV ได้โดยตรง การ ปรับตั้งระยะเวลาระหว่างการกระตุ้น atrium, ventricle และ ระยะเวลาระหว่างการกระตุ้น LV lateral wall (ผ่าน LV lead), LV septal wall (ผ่าน RV lead) จะช่วยลด interventricular และ intraventricular dyssynchrony ทำให้ ประสิทธิภาพของการบีบตัวของหัวใจดีขึ้น โดยปลายสายสื่อ (lead) วางที่ right atrium, apex ของ right ventricle และ coronary vein ผ่านcoronary sinus ปลายสายจะอยู่ที่ lateral wall ของ left ventricle ซึ่ง coronary sinus electrode จะกระตุ้นที่ left ventricle.